วิธี การ สังเกต ผู้ชาย นอกใจ: คุณกำลังดูกระทู้
Contents
- 1
เกล็ดเล็ก ๆ น้อย ๆ
- 1.1 [Update] สัญญาณเตือน และวิธีรับมือเมื่อโดนคนรักนอกใจ | วิธี การ สังเกต ผู้ชาย นอกใจ – PINKAGETHAILAND
- 1.2 แฟนเริ่มมีอาการนอกใจ…จะรู้ได้อย่างไร?
- 1.3 ✔ เทคนิคการจับผิด แฟนนอกใจ เทคนิคสังเกตพฤติกรรม ตอนที่ 1
- 1.4 ดร.ภาคิน 425 วิธีสังเกตสามีนอกใจ
- 1.5 5 สัญญาณที่บ่งบอกว่า…แฟนกำลังนอกใจคุณ
- 1.6 5 วิธีจับผิดแฟน แอบซุกกิ๊กไว้ในมือถือ by Nakashima Mark
เกล็ดเล็ก ๆ น้อย ๆ
ความน่าจะเป็น
1. การทดลองเชิงสุ่ม
การทดลองเชิงสุ่มเป็นการทดลอง
ที่ไม่สามารถทำนายผลการทดลอง
ได้อย่างถูกต้องแน่นอน
เนื่องจากผลของการทดลองที่ได้
อาจเกิดขึ้นได้หลายอย่าง
จะเรียกเซตซึ่งสมาชิกในเซตนั้นเป็นผลของการทดลองเชิงสุ่มที่เป็นไปได้ทั้งหมดว่า แซมเปิลสเปซ (Sample Space) เขียนแทนด้วย S และเรียกสมาชิกของแซมเปิลสเปซว่า แซมเปิลพอยท์(SamplePoint)
ตัวอย่าง1.1
ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก เพื่อดูแต้มที่ขึ้น ผลของการทดลองหรือการทอดลูกเต๋าที่เป็นไปได้ทั้งหมดคือ 1, 2, 3, 4, 5, 6 ดังนั้นแซมเปิลสเปซ คือ
S1 = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
ถ้าสนใจว่าแต้มที่ปรากฎเป็นแต้มคู่หรือแต้มคี่ แซมเปิลสเปซคือ
S2 = {คู่, คี่}
ตัวอย่าง 1. 2
ในการตรวจคุณภาพของสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องจักรของโรงงานแห่งหนึ่งหยิบสินค้ามา 3 ชิ้น แล้วตรวจสภาพทีละชิ้นว่าชำรุดหรือไม่
ให้ “ด” แทนดี และ “ช” แทนชำรุด
แซมเปิลสเปซที่ให้รายละเอียดมากที่สุดคือ
S1 = {ดดด, ดดช, ดชด, ชดด, ดชช, ชดช, ชชด, ชชช}
ถ้าสนใจจำนวนสินค้าที่ชำรุดจากสินค้าที่หยิบมา 3 ชิ้น แซมเปิลสเปซคือ
S2 = {0, 1, 2, 3}
~ ~ ~ ~ ~ ~ ~
ในการทดลองเชิงสุ่มมักจะสนใจการเกิดขึ้นของเหตุการณ์(Event) ต่าง ๆ มากกว่า ซึ่งเป็นเซตย่อย (Subset) ของแซมเปิลสเปซ S
ถ้าในเหตุการณ์นั้นไม่มีแซมเปิลพอยท์เลย เหตุการณ์นั้นเป็นเหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้ซึ่งเขียนแทนด้วยเชตว่าง (Æ)
นอกจากนี้เหตุการณ์อาจจะประกอบด้วยแซมเปิลพอยท์ทั้งหมดก็ได้ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
เนื่องจากเหตุการณ์แทนได้ด้วยเซต
ดังนั้น การดำเนินการระหว่างเซต (Operation on set) ได้แก่
ยูเนียน (Union) อินเตอร์เซคชัน (Intersection)
คอมพลีเมนท์ (Complement)
********
ให้ E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์ใด ๆ จากการทดลองที่มีแซมเปิลสเปซ S
หมายถึงเหตุการณ์
E1เกิดขึ้น หรือ E2เกิดขึ้น หรือ อาจกล่าวได้ว่าเป็นเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นอย่างน้อย1 เหตุการณ์ในบรรดา E1 กับ E2
หมายถึง เหตุการณ์ที่ E1 และ E2 เกิดขึ้นทั้ง 2 เหตุการณ์
หมายถึง เหตุการณ์ที่ E ไม่เกิดขึ้น
2. การคำนวณค่าความน่าจะเป็น
นิยาม 1. ถ้าการทดลองเชิงสุ่มมีผลการทดลอง
ต่าง ๆ กัน N อย่าง ผลการทดลองแต่ละอย่างมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ กัน ถ้าผลการทดลอง n อย่างแสดงถึงการเกิดเหตุการณ์ E ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E เขียนแทนด้วย P(E) และ
ตัวอย่าง 2.1
โยนเหรียญที่สมดุลย์ 1 อัน 2 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่เหรียญจะขึ้นหัวอย่างน้อย 1ครั้ง
วิธีทำ ผลการทดลองที่เป็นไปได้ทั้งหมดจากการโยนเหรียญ 1 อัน 2 ครั้ง มี 4 อย่างคือ หัวและหัว หัวและก้อย ก้อยและหัว ก้อยและก้อย ตามลำดับครั้งที่โยน ให้ E เป็นเหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัวอย่างน้อย 1 ครั้ง
ผลการทดลองที่แสดงว่าเกิดเหตุการณ์ E มี 3 อย่างคือ
หัวและหัว
หัวและก้อย
ก้อยและหัว
ในตัวอย่างนี้ถ้าเขียนแซมเปิลสเปซของการทดลอง จะได้ S = {HH, HT, TH, TT}
ถ้า H แทนหัว และ T แทนก้อย และเขียนเหตุการณ์ E จะได้ E = {HH, HT, TH} ดังนั้น
จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของ E
จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของ S
ตัวอย่าง 2.2
ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ผลบวกของแต้มบนลูกเต๋าทั้ง 2 ลูก เป็น 7
วิธีทำ ให้ (x,y) แทนผลการทดลองที่ได้แต้ม x จากลูกแรก และแต้ม y จากลูกที่สอง
แซมเปิลสเปซคือ
S = { (1,1) (1,2) (1,3) (1,4) (1,5) (1,6) (2,1) (2,2) (2,3) (2,4) (2,5) (2,6) (3,1) (3,2) (3,3) (3,4) (3,5)(4,1) (4,2) (4,3) (4,4) (4,5) (4,6) (5,1) (5,2) (5,3) (5,4) (5,5) (5,6) (6,1) (6,2) (6,3) (6,4) (6,5) (6,6)}
ให้ E เป็นเหตุการณ์ที่ได้ผลบวกของแต้มเป็น 7
E = {(1,6) (2,5) (3,4) (4,3) (5,2) (6,1)}
ดังนั้น จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ขอE จำนวนแ แซมเปิลพ้อยท์ของ S
ตัวอย่างที่ผ่านมา แสดงการคำนวณความน่าจะเป็นจากการนับจำนวนแซมเปิลพ้อยต์ วิธีนี้เรียกว่า วิธีคลาสสิค (Classical Method)
ดังนั้น จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของE
จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ของS
การคำนวณความน่าจะเป็นของเหตุการณ์บางอย่างจะต้องทำการทดลองจริง วิธีนี้เรียกว่า วิธีการสังเกตจากการทดลอง (Empirical Method)
♫ ♫
♪ ♪
นิยาม2. ถ้าทำการทดลองซ้ำกัน Nครั้ง และ
สังเกตได้ว่าเหตุการณ์ E เกิดขึ้น n ครั้ง
ความถี่สัมพัทธ์ของเหตุการณ์ E คือ จะมีค่าเข้าใกล้ความน่าจะเป็นของ E เมื่อ N มีค่าเพิ่มขึ้นนั่นคือ
และเราจะใช้
P(E) = โดยประมาณเมื่อ N มีค่ามาก ๆ
ตัวอย่าง 2.3
ถ้าโยนเหรียญ 1 อัน 1,000 ครั้ง ปรากฏว่าได้หัว 498 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นของการได้หัวจากการโยนเหรียญอันนี้
วิธีทำ
ตัวอย่าง 2.4
ในบรรดาลูกค้า 100 คนที่เข้าร้านสรรพสินค้าแห่งหนึ่งในช่วงเวลา 17.00-18.00 น. มีลูกค้าที่ซื้อสินค้าตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป อยู่ 55 คน ถ้าสุ่มเลือกลูกค้ามา 1 คนจากผู้ที่อยู่ในร้านในช่วงเวลาดังกล่าว จงหาความน่าจะเป็นที่ผู้นั้นจะซื้อสินค้าไม่ถึง 1,000 บาท
วิธีทำ มีลูกค้าที่ซื้อสินค้าไม่ถึง 1,000 บาทอยู่ 45 คน
\ P(ลูกค้าซื้อสินค้าไม่ถึง 1,000 บาท) = = 0.45 โดยประมาณ
ตัวอย่าง 2.5
จากการสุ่มเลือกผู้ที่จบปริญญาทางสถิติมา1,000คนจำแนกผู้ที่จบตามประเภทของงานและผู้ที่จบระดับปริญญา ได้ผลเป็นดังนี้
งาน ปริญญา รวม
ตรี โท เอก
รัฐบาล
เอกชน
รัฐวิสาหกิจ 180
340
130 100
150
60 20
10
10 300
500
200
รวม 650 310 40 1000
ถ้าสุ่มเลือกผู้ที่จบปริญญาทางสถิติมา 1 คน ใช้ข้อมูลจากตารางนี้ประมาณค่าความน่าจะเป็น ดังนี้
ก. P(ผู้ที่ทำงานเอกชน)
ข. P(ผู้ที่จบปริญญาตรีและทำงานเอกชน)
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใด ๆ จะมีค่าได้ตั้งแต่ 0 ถึง 1
3. การนับจำนวนแซมเปิลพ้อยท์
ทฤษฎีที่ 1 ถ้าการดำเนินการอย่างหนึ่งมี k ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ทำได้ n1 วิธี ขั้นตอนที่สองทำได้ n2 วิธี ขั้นตอนที่สามทำได้ n3 วิธี … เช่นนี้เรื่อยไปจนถึงขั้นตอนที่ k ซึ่งทำได้ nk วิธี การดำเนินการนี้จะทำได้ n1 n2 . . . nk วิธี
ตัวอย่าง 3.1
ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง จงหาจำนวนวิธีที่แต้มลูกเต๋าจะขึ้น
วิธีทำ การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง เป็นการดำเนินการที่มี 2 ขั้นตอนในการทอดแต่ละครั้ง
ได้แต้ม 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 หรือ 6 ดังนั้นแต่ละขั้นตอนทำได้ 6 วิธี
\ จำนวนวิธีที่แต้มลูกเต๋าจะขึ้น = 6 ´ 6 = 36 วิธี
ตัวอย่าง 3.2
ในการโยนเหรียญ 1 อัน 3 ครั้ง จงหาจำนวนวิธีที่เหรียญจะขึ้น
วิธีทำ การโยนเหรียญ 1 อัน 3 ครั้งเป็นการดำเนินการที่มี 3 ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนอาจได้หัว
หรือก้อย ซึ่งทำได้ 2 วิธี
จำนวนวิธีที่เหรียญจะขึ้น = 2 ´ 2 ´ 2 = 8 วิธี
ตัวอย่าง 3.3
ในการสอบแบบปรนัย แต่ละข้อมีคำตอบให้เลือก 4 คำตอบ โดยมีคำตอบที่ถูกเพียง 1 คำตอบ ถ้านักเรียนผู้หนึ่งตอบโดยการเดาทุกข้อ และมีข้อสอบทั้งหมด 10 ข้อ จะมีคำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดกี่แบบ
วิธีทำ การสอบครั้งนี้เป็นการดำเนินการที่มี 10 ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนทำได้ 4 วิธี ดังนั้นจะมี
คำตอบที่เป็นไปได้ = 410 แบบ
นิยาม 3. การจัดลำดับ คือการจัดของทั้งหมดที่มีอยู่หรือจัดของแต่ละส่วนโดยคำนึงถึงลำดับ เช่น ในการจัดลำดับอักษร a, b และ c ทั้ง 3 ตัว จะจัดได้ 6 วิธี คือ abc, acb, bac, bca, cab, cba แต่ถ้านำมาจัดเพียง 2 ตัว จะจัดได้ 6 วิธี คือ ab, ba, ac, ca, bc, cb
ทฤษฎีที่ 2.
ถ้ามีของnสิ่ง แตกต่างกันจะ
จัดครั้งละ r สิ่ง (r £ n) จะ
ทำได้ วิธี
เมื่อ r < n
วิธี
ตัวอย่าง 3.4
จะมีวิธีแนะนำนักบาสเกตบอล 5 คนของทีมต่อผู้ชมได้กี่วิธี
วิธีทำ คนที่อาจได้รับการแนะนำเป็นคนแรกมีได้ 5 คน คนที่สองอาจมีได้ 4 คน คนที่สามอาจมีได้ 3 คนเช่นนี้เรื่อยไปจนครบทุกคน
จำนวนวิธีที่จะเป็นไปได้ = 5 ´ 4 ´ 3 ´ 2 ´ 1 = 120 วิธี
หรือ = 120 วิธี
ตัวอย่าง 3.5
ในการประชุมสมาชิกของสมาคม
แห่งหนึ่ง เพื่อเลือกตั้งกรรมการตำแหน่งนายกสมาคม และรองนายกสมาคม มีผู้เสนอชื่อสมาชิก 7 คน โดยครั้งแรกจะเลือกนายก และครั้งที่สองจะเลือกรองนายกสมาคม ถามว่าจะมีกรรมการต่าง ๆ กันได้กี่ชุด
วิธีทำ การเลือกตั้งกรรมการชุดนี้เป็นการจัดคน 2คน
จาก 7 คน โดยคนแรกให้เป็นนายกคนที่สองให้เป็นรองนายกสมาคม ดังนั้น
มีจำนวนกรรมการที่เป็นไปได้ = ชุด
ในบางครั้งเราสนใจการจัดโดยไม่คำนึงถึงลำดับเป็นสำคัญ หรือสนใจการเลือกของจากที่มีอยู่ทั้งหมด โดยไม่สนใจว่าจะเลือกของสิ่งใดมาเป็นลำดับแรก สิ่งใดเป็นลำดับที่สองการกระทำแบบนี้เรียกว่า การจัดหมู่ (Combination)
นิยาม 4. การจัดหมู่ คือการจัดของทั้งหมดที่มีอยู่
หรือจัดบางส่วน โดยไม่คำนึงถึงลำดับ
เช่น มีอักษร 3 ตัว a, b, c นำมาจัดหมู่ ๆ ละ 2 ตัว
จะจัดได้ 3 วิธีคือ a กับ b, a กับ c, b กับ c
ทฤษฎีที่ 3.
ถ้ามีของ n สิ่งแตกต่างกัน
เลือกหรือจัดโดยไม่
คำนึงถึงลำดับครั้งละ r สิ่ง(r £ n) จะทำได้ หรือ วิธี
= วิธี
ตัวอย่าง 3.6
ในการประชุมวิชาการครั้งหนึ่ง มีผู้เข้าประชุม 15 คน ถ้าจะเลือก 3 คนมาเป็นตัวแทนจะทำได้กี่วิธี
วิธีทำ เลือก 3 คนจาก 15 คนทำได้ = วิธี
ตัวอย่าง 3.7
จากตัวอย่างที่ 2.3 ถ้าผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้ชาย 10 คนและผู้หญิง 5 คนต้องการเลือกตัวแทน 3 คน โดยให้เป็นชาย 2 คน หญิง 1 คน จะทำได้กี่วิธี
วิธีทำ เลือกผู้ชาย 2 คนได้ = วิธี
เลือกผู้หญิง 1 คนได้ = วิธี
ดังนั้น เลือกชาย 2 คนและหญิง 1 คนได้ = 45´5 = 225 วิธี
ทฤษฎีที่ 4. ถ้ามีของ n สิ่งซึ่งแบ่งเป็น k ชนิด ชนิดที่หนึ่งมี n1 สิ่ง ชนิดที่สองมี n2 สิ่ง… และชนิดที่ k มี nk สิ่ง โดยที่ จำนวนวิธีที่จะจัดของทั้งหมดนี้จะเท่ากับ
ตัวอย่าง 3.8
จงหาจำนวนวิธีที่จะจัดคำต่าง ๆ กัน จากอักษรในคำว่า PROPORTION
วิธีทำ จำนวนวิธีจัดที่แตกต่างกัน = วิธี
ตัวอย่าง 3.9
จงหาจำนวนวิธีที่จะจัดหลอดไฟสีแดง 3 หลอด สีเหลือง 4 หลอด และสีน้ำเงิน 2 หลอดเพื่อประดับรั้ว ถ้าสายไฟมีขั้วสำหรับใส่หลอดอยู่ 9 อัน
วิธีทำ จำนวนวิธีจัดที่แตกต่างกัน = วิธี
ตัวอย่าง 3.10
มีตัวอักษรอยู่ 4 ตัวเป็น N 2 ตัว O 2 ตัว นำมาเรียงกันโดยวิธีสุ่ม จงหาความน่าจะเป็นที่เรียงแล้วอ่านได้เป็น NOON
วิธีทำ จำนวนวิธีทั้งหมดที่เรียงลำดับได้ = วิธี
จำนวนวิธีที่เรียงลำดับแล้วอ่านได้เป็น NOON = 1 วิธี
ดังนั้น P(เรียงแล้วอ่านได้เป็นNOON)=
ตัวอย่าง 3.11
จงหาความน่าจะเป็นที่คน 3 คนจะมีวันเกิด ไม่ตรงกัน
วิธีทำ มีคน 3 คนแต่ละคนอาจเกิดในวันใดวันหนึ่งใน 365 วันก็ได้ ดังนั้นจำนวนวิธีทั้งหมดที่คน 3 คน จะเลือกเกิดได้ = 3653 วิธี
จำนวนวิธีที่คนทั้ง 3 คนเกิดไม่ตรงกัน = วิธี
P(คนทั้ง 3 คนมีวันเกิดไม่ตรงกัน)
=
ตัวอย่าง 3.12
ในการหยิบไพ่ 2 ใบ จากสำรับซึ่งมีไพ่ 52 ใบ จงหาความน่าจะเป็นที่
ก. ได้ไพ่หน้าเดียวกัน
ข. ได้ไพ่เบอร์เดียวกัน
วิธีทำ จำนวนวิธีที่หยิบไพ่ 2 ใบจาก 52 ใบ = วิธี
ก. เลือกหน้าที่จะขึ้นได้ วิธีแล้วจึงเลือกไพ่เบอร์ต่าง ๆ จากหน้าที่เลือกไว้แล้วมา 2 ใบได้ วิธี
ดังนั้น จำนวนวิธีที่หยิบไพ่ได้หน้าเดียวกัน วิธี
P(ไพ่หน้าเดียวกัน)
=
ข. เลือกเบอร์ที่จะขึ้นได้ วิธีแล้วจึงเลือกไพ่หน้าต่าง ๆ จากเบอร์ที่เลือกไว้แล้วมา 2 ใบได้ วิธี
ดังนั้น จำนวนวิธีที่หยิบไพ่ได้เบอร์เดียวกัน = วิธี
P(ไพ่เบอร์เดียวกัน)
4. กฎของความน่าจะเป็น
กฎที่ 1 ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์ใด ๆ ความน่าจะเป็นที่อย่างน้อย 1 เหตุการณ์ใน 2 เหตุการณ์นี้จะเกิดขึ้นคือ
P( E1ÈE2 ) = P( E1) + P( E2) – P( E1ÇE2)
ข้อสังเกต ถ้า E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน
P(E1ÈE2) = P(E1) + P(E2)
เนื่องจาก E1 และ E2 ไม่เกิดร่วมกัน ฉะนั้น E1ÇE2 = Æ และ P(E1ÇE2) = 0
กฎที่ 2 ถ้า เป็นคอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์แล้ว
เนื่องจาก = S และ = Æ
P( ) = P(S)
ดังนั้น
ตัวอย่าง4.1
ความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนหนึ่งจะสอบคณิตศาสตร์ผ่าน
เท่ากับ และความน่าจะเป็นที่เขาสอบภาษาอังกฤษผ่านเท่ากับ ถ้าความน่าจะเป็นที่เขาสอบผ่านทั้ง2วิชาเท่ากับ จงหาความน่าจะเป็นที่นักเรียนคนหนึ่งจะ
ก. สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา
ข. สอบไม่ผ่านทั้ง 2 วิชา
วิธีทำ ให้ M เป็นเหตุการณ์ที่สอบคณิตศาสตร์ผ่าน
E เป็นเหตุการณ์ที่สอบภาษาอังกฤษผ่าน
\ P(M) = , P(E) = , P(MÇE) =
ก. P(สอบผ่านอย่างน้อย 1 วิชา) = P(MÈE)
= P(M) + P(E) – P(MÇE)
= + –
= = 0.91
ข. P(สอบไม่ผ่านทั้ง 2 วิชา)
ตัวอย่าง 4.2
ทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็นที่
ก. ผลบวกของแต้มเป็น 7 หรือ 11
ข. ผลบวกของแต้มไม่น้อยกว่า 3
วิธีทำ
ก. ให้ E1 เป็นเหตุการณ์ที่ผลบวกของแต้มเป็น 7
E2 เป็นเหตุการณ์ที่ผลบวกของแต้มเป็น 11
จำนวนแซมเปิลพ้อยท์ในแซมเปิลสเปซ = 36
E1 = {(1,6), (2,5), (3,4), (4,3), (5,2), (6,1)}
E2 = {(5,6), (6,5)}
P(E1) , P(E2)
เนื่องจาก E1 และ E2 เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน
P(E1ÈE2) = P(E1) + P(E2)
= +
= = 0.222
ข. ให้ E3 เป็นเหตุการณ์ที่ผลบวกของแต้มไม่น้อยกว่า 3
เป็นเหตุการณ์ที่ผลบวกของแต้มน้อยกว่า 3
= {( 1,1 )} P ( ) =
\ = 0.972
5. ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข
ให้ A และ B เป็นเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ เขียนแทนด้วย P(B|A) ซึ่งหาจาก P(B|A) = จำนวนแซมเปิลพ้อยต์ของ AÇB
จำนวนแซมเปิลพ้อยต์ของ A
แต่ถ้าจะหา P(B|A) จากแซมเปิลสเปซเดิม ทำได้โดยใช้นิยามต่อไปนี้
นิยาม 4. ความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ B จะเกิดขึ้นโดยมีเงื่อนไขว่าเหตุการณ์ A ได้เกิดขึ้นแล้วคือ
P(B|A) = , P(A) ¹ 0
ตัวอย่าง 5.1
ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีผู้มีอายุตั้งแต่ 20 ถึง 60 ปีอยู่ 500 คน เมื่อแบ่งตามเพศและสภาพการมีงานทำแล้ว ได้ตัวเลขดังนี้
การมีงานทำ
เพศ มีทำ ไม่มี รวม
ชาย
หญิง 230
70 10
190 240
260
รวม 300 200 500
ถ้าเลือกคนในหมู่บ้านมา 1 คนเพื่อเป็นตัวแทนของหมู่บ้านโดยกำหนดว่าจะต้องเป็นผู้มีงานทำ
จงหาความน่าจะเป็นที่ผู้ได้รับเลือกเป็นผู้ชาย
วิธีทำ ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับเลือกเป็นผู้มีงานทำ
B เป็นเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับเลือกเป็นชาย
เป็นเหตุการณ์ที่ผู้ได้รับเลือกเป็นชายที่มีงานทำ
จาก P(B|A) =
P(A) = ; P(AÇB) =
ดังนั้น P(B|A) = = 0.767
ตัวอย่าง 5.2
ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน ถ้าโอกาสที่
บุตรแต่ละคนเป็นชายเท่ากับโอกาสที่บุตรแต่ละคนเป็นหญิง จงหาความน่าจะเป็นที่บุตรทั้งสองจะเป็นชายถ้าทราบว่าครอบครัวนั้นมีบุตรชายอย่างน้อย 1 คน
วิธีทำ ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ครอบครัวนั้นมีบุตรชายอย่างน้อย 1 คน
B เป็นเหตุการณ์ที่บุตรเป็นชายทั้งสองคน
เป็นเหตุการณ์ที่บุตรเป็นชายทั้งสองคน
S = {( ช,ช ), (ช,ญ , (ญ,ช), (ญ,ญ)}
A = {( ช,ช ), (ช,ญ), (ญ,ช)}
B = {(ช,ช)}
= {(ช,ช)}
P(B|A) =
= = 0.333
ตัวอย่าง 5.3
กล่องใบหนึ่งมีปากกา 5 ด้ามเป็นสีน้ำเงิน 3 ด้าม สีแดง 2 ด้าม ถ้าหยิบปากกาอย่างสุ่มครั้งละ 1 ด้าม เมื่อได้ปากกาด้ามแรกแล้วไม่ใส่กลับคืน หยิบปากกาด้ามที่สองจากที่เหลือ จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ปากกาทั้ง 2 ด้ามเป็นสีน้ำเงิน
วิธีทำ ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ปากกาด้ามแรกเป็นสีน้ำเงิน
B เป็นเหตุการณ์ที่ปากกาด้ามที่สองเป็นสีน้ำเงิน
P(ปากกาทั้ง 2 ด้ามเป็นสี้น้ำเงิน) = P( )
= P(A)P(B|A)
ถ้ามีเหตุการณ์มากกว่า 2 เหตุการณ์คือ A1, A2, A3, … อาจจะเขียนผลคูณของความน่าจะเป็นได้ดังนี้
P(A1ÇA2ÇA3…) = P(A1)P(A2|A1)P(A3|A1ÇA2) …
ตัวอย่าง 5.4
จากตัวอย่างที่ 2.26 จงหาความน่าจะเป็นที่ได้ปากกาสีน้ำเงิน แดง น้ำเงินและแดงตามลำดับที่สุ่มมา 4 ด้าม
วิธีทำ
P(น้ำเงิน , แดง , น้ำเงิน , แดง) = P(ด้ามที่ 1 สีน้ำเงิน) P(ด้ามที่ 2 สีแดง | ด้ามที่ 1 สีน้ำเงิน)
P(ด้ามที่ 3 สีน้ำเงิน | ด้ามที่ 1 สีน้ำเงิน , ด้ามที่ 2 สีแดง)
P(ด้ามที่ 4 สีแดง | ด้ามที่ 1 สีน้ำเงิน, ด้ามที่ 2 สีแดง, ด้ามที่ 3 สีน้ำเงิน)
=
=
6. เหตุการณ์อิสระ
นิยาม 5
เหตุการณ์ A และ B เรียกว่าเป็นอิสระต่อกันก็ต่อเมื่อ P(A|B) = P(A) และ P(B|A) = P(B)
กล่าวคือ P(AÇB) = P(A)P(B)
ตัวอย่าง 6.1
ในการโยนลูกเต๋า 1 ลูกและเหรียญ 1 อัน เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 6 กับเหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัวเป็นอิสระต่อกันหรือไม่
วิธีทำ
แซมเปิลสเปซคือ S = {(1,H), (2,H), …, (6,H), (1,T), (2,T), …, (6,T)}
ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้ม 6
B เป็นเหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหัว
A = {(6,H), (6,T)}
B = {(1,H), (2,H), …, (6,H)}
AÇB = {(6,H)}
P(A) =
ดังนั้น P(AÇB) = P(A)P(B)
นั่นคือ A และ B เป็นอิสระกัน
ตัวอย่าง 6.2
หยิบลูกแก้ว 3 ลูกจากกล่องซึ่งมีลูกแก้วสีแดง 5 ลูกและสีเขียว 3 ลูก โดยหยิบทีละลูกแล้วใส่กลับที่เดิมก่อนจะหยิบลูกต่อไป จงหาความน่าจะเป็นที่
ก. ลูกแก้วทั้งหมดเป็นสีเดียวกัน
ข. ลูกแก้วที่หยิบมามีทั้ง 2 สี
วิธีทำ
ก. P(สีเดียวกัน) = P(แดง , แดง , แดง) + P(เขียว , เขียว , เขียว)
=
ข. P(มีทั้ง 2 สี) = 1 –
ทฤษฎีที่ 5 ถ้า A และ B เป็นอิสระต่อกัน จะได้ว่า
1. Aข และ B เป็นอิสระต่อกัน
2. A และ Bข เป็นอิสระต่อกัน
3. Aข และ Bข เป็นอิสระต่อกัน
ตัวอย่าง 6.3
ความน่าจะเป็นที่สามีและภรรยาคู่หนึ่งจะมีอายุถึง 80 ปี เท่ากับ 0.8 และ 0.9
ตามลำดับ จงหาความน่าจะเป็นที่
ก. ทั้งคู่มีอายุถึง 80 ปี
ข. ไม่มีใครเลยอายุถึง 80 ปี
ค. อย่างน้อย 1 คน มีอายุถึง 80 ปี
วิธีทำ ให้ A เป็นเหตุการณ์ที่สามีมีอายุถึง 80 ปี
B เป็นเหตุการณ์ที่ภรรยามีอายุถึง 80 ปี
P(A) = 0.8 ; P(B) = 0.9
ก. P(AÇB) = P(A)P(B) = (0.8)(0.9) = 0.72
ข. P(AขÇBข) = P(Aข)P(Bข) = (0.2)(0.1) = 0.02
ค. P(AÈB) = P(A) + P(B) – P(AÇB) = 0.8 + 0.9 – 0.72 = 0.98
7. กฎของความน่าจะเป็นรวม
สมมติว่าแซมเปิลสเปซ S ของการทดลองแบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ B1 และ B2 ถ้า A เป็นเหตุการณ์หนึ่งจากการทดลองนี้ และ A เขียนได้เป็น
A = (AÇB1)È(AÇB2) โดยที่ (AÇB1) Ç(AÇB2) = f
ดังนั้นความน่าจะเป็นรวมคือ
P(A) = P(AÇB1) + P(AÇB2)
= P(A|B1)P(B1) + P(A|B2)P(B2)
ถ้าเขียนในรูปทั่วไปกรณีที่ S ของการทดลอง แบ่งได้เป็น n ส่วน คือ B1 , … , Bn จะเขียนได้
P(A) = P(A|B1)P(B1)+P(A|B2)P(B2)+…..+P(A|Bn)P(Bn)
= P(A|Bi)P(Bi)
ตัวอย่าง 7.1
โรงงานแห่งหนึ่งมีเครื่องจักร 3 เครื่อง ซึ่งสามารถผลิตสินค้าได้ 25% , 35% และ 40% ของสินค้าทั้งหมดตามลำดับ เปอร์เซ็นต์ของสินค้าที่ผลิตโดยเครื่องจักรเครื่องที่ 1 , 2 และ 3 จะชำรุดมีค่าเท่ากับ 1% , 2% และ 2.5% ตามลำดับ ถ้าเลือกสินค้ามาชิ้นหนึ่ง จงหาความน่าจะเป็นที่สินค้าชิ้นนั้นเป็นสินค้าชำรุด
วิธีทำ ให้ Bi เป็นเหตุการณ์ที่สินค้าจะผลิตโดยเครื่องจักรเครื่องที่ i (i = 1, 2, 3) และ A เป็นเหตุการณ์ที่เลือกได้สินค้าชำรุด
P(B1) = .25 P(B2) = .35 P(B3) = 0.4
P(A|B1) = 0.01 P(A|B2) = 0.02 P(A|B3) = .025
P(สินค้าชิ้นนั้นเป็นสินค้าชำรุด) = P(A)
= P(A|B1)P(B1)+P(A|B2)P(B2)+P(A|B3)P(B3)
= (.01)(.25) + (.02)(.35) + (.025)(.40)
= .0195
2.10 Next
PS. body {cursor: url(https://www.graphicsarcade.com/holidays/christmas/cursors/christmas_cursors_12.cur); }
[Update] สัญญาณเตือน และวิธีรับมือเมื่อโดนคนรักนอกใจ | วิธี การ สังเกต ผู้ชาย นอกใจ – PINKAGETHAILAND
ชื่อผู้ใช้งาน
อีเมลล์
รหัสผ่าน
Your password must be at least 6 characters long.To make your password stronger,use upper and lower case letters,numbers,and the following [email protected]#$%^&*()
ยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไข
แฟนเริ่มมีอาการนอกใจ…จะรู้ได้อย่างไร?
แฟนเก่าอยากกลับมา…จะทำอย่างไร
ปรึกษาปัญหาความรัก กับโค้ชกิ๊กผ่านไลน์ฟรี หรือสอบถามคอร์สเรียนเพื่อพัฒนาตนเอง ที่ตอบโจทย์ปัญหาความสัมพันธ์ในทุกๆด้าน คลิกที่นี่เลยครับ
https://line.me/R/ti/p/%40clubgig
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
✔ เทคนิคการจับผิด แฟนนอกใจ เทคนิคสังเกตพฤติกรรม ตอนที่ 1
ถ้าอยากรู้ว่า แฟนนอกใจคุณอยู่หรือป่าวเนี่ย ต้องฟังทางนี้ ถ้ารู้สึกตะหงิดๆ ว่า แฟนมีพฤติกรรมแปลกๆ สามีมีเมียน้อย หรือว่าแฟนสาวของเราเองแอบมีกิ๊ก เร่ิมคิดมาก แล้วก็เสียใจ ไม่มีความสุข แต่ก่อนที่จะมัวคิดจับผิดกันไปใหญ่ จนทำลายบรรยายกาศดีๆ ของชีวิตคู่ จนไปถึงไม่แน่ใจตัวเอง ว่าคิดไปเองหรือเปล่า ลองมาเริ่มสังเกตจากส่ิงเหล่านี้ก่อนจร้าาา
ดร.ภาคิน 425 วิธีสังเกตสามีนอกใจ
สอบถามรายละเอียดการปรึกษา/บำบัด ได้ที่
LINE : thaihypno.com หรือคลิกลิงค์นี้ได้เลย http://line.me/ti/p/~thaihypno.com
TEL : 029488586 หรือ 0892695165
5 สัญญาณที่บ่งบอกว่า…แฟนกำลังนอกใจคุณ
เคยไหมครับ?
รู้สึกว่าแฟน มีอะไร
ที่ไม่ค่อยน่าไว้วางใจ สักเท่าไหร่
.
จะถามตรงๆ
ก็ไม่ได้ซะด้วย
.
เพราะฉะนั้น
เรามาดูกันดีกว่า
ว่าพฤติกรรม
ของคนกำลังนอกใจ
มันเป็นยังไง…
เชิญรับชมครับ
.
.
► สามารถติดตามฌองได้ที่..
• 📷 INSTAGRAM ‣ https://www.instagram.com/chong.napat/?hl=th
• 🔵 FACEBOOK ‣ https://www.facebook.com/chongcharisofficial
• 🔴 YOUTUBE ‣ http://www.youtube.com/c/ChongCharis
5 วิธีจับผิดแฟน แอบซุกกิ๊กไว้ในมือถือ by Nakashima Mark
5 วิธีจับผิดแฟน แอบซุกกิ๊กไว้ในมือถือ by Nakashima Mark
โปรดใช้วิจารณญาณ ในการรับข้อมูลด้วยนะครับ
เพราะการผลิตคลิป หรือการตอบคำถามเป็นเพียงคำแนะนำเท่านั้น
ฝากติดตาม
ฝากกดLike
ฝากกดShare
ฝากกดSubscribe
https://www.youtube.com/channel/UCTImzH11kbdiG8K3_fWuQcA
เพื่อเป็นกำลังใจในการสร้างคลิป ต่อๆ ไปด้วยนะครับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณรูปภาพสวยๆ
pixabay.com
pexels.com
ขอขอบคุณข้อมูล
http://www.gangbeauty.com
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKEUP
ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ วิธี การ สังเกต ผู้ชาย นอกใจ